The benefits of observing suffering in six intentions.
English translation by Bhikkhu Sujato
“Mendicants, these seven people are worthy of offerings dedicated to the gods, worthy of hospitality, worthy of a religious donation, worthy of greeting with joined palms, and are the supreme field of merit for the world. What seven?
First, take a person who meditates observing suffering in intention regarding sights. They perceive suffering and experience suffering. Constantly, continually, and without interruption, they apply the mind and fathom with wisdom. They’ve realized the undefiled freedom of heart and freedom by wisdom in this very life, and live having realized it with their own insight due to the ending of defilements. This is the first person.
Next, take a person who meditates observing suffering in intention regarding sights. Their defilements and their life come to an end at exactly the same time. This is the second person.
Next, take a person who meditates observing suffering in intention regarding sights. With the ending of the five lower fetters they’re extinguished between one life and the next. …
With the ending of the five lower fetters they’re extinguished upon landing. …
With the ending of the five lower fetters they’re extinguished without extra effort. …
With the ending of the five lower fetters they’re extinguished with extra effort. …
With the ending of the five lower fetters they head upstream, going to the Akaniṭṭha realm. This is the seventh person.
These are the seven people who are worthy of offerings dedicated to the gods, worthy of hospitality, worthy of a religious donation, worthy of greeting with joined palms, and are the supreme field of merit for the world.”
“Mendicants, these seven people are worthy of offerings dedicated to the gods, worthy of hospitality, worthy of a religious donation, worthy of greeting with joined palms, and are the supreme field of merit for the world. What seven?
First, take a person who meditates observing suffering in intention regarding sounds … intention regarding smells … intention regarding tastes … intention regarding touches … intention regarding thoughts … They perceive suffering and experience suffering. Constantly, continually, and without interruption, they apply the mind and fathom with wisdom. They’ve realized the undefiled freedom of heart and freedom by wisdom in this very life, and live having realized it with their own insight due to the ending of defilements. This is the first person.
Next, take a person who meditates observing suffering in intention regarding sounds … intention regarding smells … intention regarding tastes … intention regarding touches … intention regarding thoughts … Their defilements and their life come to an end at exactly the same time. This is the second person.
Next, take a person who meditates observing suffering in intention regarding sounds … intention regarding smells … intention regarding tastes … intention regarding touches … intention regarding thoughts … With the ending of the five lower fetters they’re extinguished between one life and the next. …
With the ending of the five lower fetters they’re extinguished upon landing. …
With the ending of the five lower fetters they’re extinguished without extra effort. …
With the ending of the five lower fetters they’re extinguished with extra effort. …
With the ending of the five lower fetters they head upstream, going to the Akaniṭṭha realm. This is the seventh person.
These are the seven people who are worthy of offerings dedicated to the gods, worthy of hospitality, worthy of a religious donation, worthy of greeting with joined palms, and are the supreme field of merit for the world.”
ภิกษุทั้งหลาย บุคคล ๗ จำพวกนี้ เป็นผู้ควรแก่ของบูชา เป็นผู้ควรแก่ของต้อนรับ เป็นผู้ควรรับทักษิณา เป็นผู้ควรกระทำอัญชลี เป็นนาบุญของโลก ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า ๗ จำพวกอะไรบ้าง คือ
ภิกษุทั้งหลาย บุคคลบางคนในกรณีนี้ พิจารณาเห็นว่าเป็นทุกข์ มีความสำคัญว่าเป็นทุกข์ ตระหนักชัดว่าเป็นทุกข์ ในรูปสัญเจตนา น้อมไปด้วยใจ หยั่งลงด้วยปัญญา ติดต่อกันไปไม่ขาดสาย เธอย่อมกระทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะไม่ได้ เพราะอาสวะทั้งหลายสิ้นไป ด้วยปัญญาอันยิ่งเองในปัจจุบัน เข้าถึงอยู่ นี้เป็นบุคคลจำพวกที่ ๑ เป็นผู้ควรแก่ของบูชา เป็นผู้ควรแก่ของต้อนรับ เป็นผู้ควรรับทักษิณา เป็นผู้ควรกระทำอัญชลี เป็นนาบุญของโลก ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า.
ภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง บุคคลบางคนในกรณีนี้ พิจารณาเห็นว่าเป็นทุกข์ มีความสำคัญว่าเป็นทุกข์ ตระหนักชัดว่าเป็นทุกข์ ในรูปสัญเจตนา น้อมไปด้วยใจ หยั่งลงด้วยปัญญา ติดต่อกันไปไม่ขาดสาย ความสิ้นอาสวะและความสิ้นชีวิตของเขา มีไม่ก่อนไม่หลังกัน นี้เป็นบุคคลจำพวกที่ ๒ เป็นผู้ควรแก่ของบูชา เป็นผู้ควรแก่ของต้อนรับ เป็นผู้ควรรับทักษิณา เป็นผู้ควรกระทำอัญชลี เป็นนาบุญของโลก ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า.
ภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง บุคคลบางคนในกรณีนี้ พิจารณาเห็นว่าเป็นทุกข์ มีความสำคัญว่าเป็นทุกข์ ตระหนักชัดว่าเป็นทุกข์ ในรูปสัญเจตนา น้อมไปด้วยใจ หยั่งลงด้วยปัญญา ติดต่อกันไปไม่ขาดสาย เพราะโอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕ สิ้นไป บุคคลนั้นเป็นอันตราปรินิพพายี นี้เป็นบุคคลจำพวกที่ ๓ เป็นผู้ควรแก่ของบูชา เป็นผู้ควรแก่ของต้อนรับ เป็นผู้ควรรับทักษิณา เป็นผู้ควรกระทำอัญชลี เป็นนาบุญของโลก ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า.
ภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง บุคคลบางคนในกรณีนี้ พิจารณาเห็นว่าเป็นทุกข์ มีความสำคัญว่าเป็นทุกข์ ตระหนักชัดว่าเป็นทุกข์ ในรูปสัญเจตนา น้อมไปด้วยใจ หยั่งลงด้วยปัญญา ติดต่อกันไปไม่ขาดสาย เพราะโอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕ สิ้นไป บุคคลนั้นเป็นอุปหัจจปรินิพพายี นี้เป็นบุคคลจำพวกที่ ๔ เป็นผู้ควรแก่ของบูชา เป็นผู้ควรแก่ของต้อนรับ เป็นผู้ควรรับทักษิณา เป็นผู้ควรกระทำอัญชลี เป็นนาบุญของโลก ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า.
ภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง บุคคลบางคนในกรณีนี้ พิจารณาเห็นว่าเป็นทุกข์ มีความสำคัญว่าเป็นทุกข์ ตระหนักชัดว่าเป็นทุกข์ ในรูปสัญเจตนา น้อมไปด้วยใจ หยั่งลงด้วยปัญญา ติดต่อกันไปไม่ขาดสาย เพราะโอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕ สิ้นไป บุคคลนั้นเป็นอสังขารปรินิพพายี นี้เป็นบุคคลจำพวกที่ ๕ เป็นผู้ควรแก่ของบูชา เป็นผู้ควรแก่ของต้อนรับ เป็นผู้ควรรับทักษิณา เป็นผู้ควรกระทำอัญชลี เป็นนาบุญของโลก ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า.
ภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง บุคคลบางคนในกรณีนี้ พิจารณาเห็นว่าเป็นทุกข์ มีความสำคัญว่าเป็นทุกข์ ตระหนักชัดว่าเป็นทุกข์ ในรูปสัญเจตนา น้อมไปด้วยใจ หยั่งลงด้วยปัญญา ติดต่อกันไปไม่ขาดสาย เพราะโอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕ สิ้นไป บุคคลนั้นเป็นสสังขารปรินิพพายี นี้เป็นบุคคลจำพวกที่ ๖ เป็นผู้ควรแก่ของบูชา เป็นผู้ควรแก่ของต้อนรับ เป็นผู้ควรรับทักษิณา เป็นผู้ควรกระทำอัญชลี เป็นนาบุญของโลก ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า.
ภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง บุคคลบางคนในกรณีนี้ พิจารณาเห็นว่าเป็นทุกข์ มีความสำคัญว่าเป็นทุกข์ ตระหนักชัดว่าเป็นทุกข์ ในรูปสัญเจตนา น้อมไปด้วยใจ หยั่งลงด้วยปัญญา ติดต่อกันไปไม่ขาดสาย เพราะโอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕ สิ้นไป บุคคลนั้นเป็นอุทธังโสโตอกนิฏฐคามี นี้เป็นบุคคลจำพวกที่ ๗ เป็นผู้ควรแก่ของบูชา เป็นผู้ควรแก่ของต้อนรับ เป็นผู้ควรรับทักษิณา เป็นผู้ควรกระทำอัญชลี เป็นนาบุญของโลก ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า.
ภิกษุทั้งหลาย บุคคล ๗ จำพวกเหล่านี้แล เป็นผู้ควรแก่ของบูชา เป็นผู้ควรแก่ของต้อนรับ เป็นผู้ควรรับทักษิณา เป็นผู้ควรกระทำอัญชลี เป็นนาบุญของโลก ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า.
ภิกษุทั้งหลาย บุคคล ๗ จำพวกนี้ เป็นผู้ควรแก่ของบูชา เป็นผู้ควรแก่ของต้อนรับ เป็นผู้ควรรับทักษิณา เป็นผู้ควรกระทำอัญชลี เป็นนาบุญของโลก ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า ๗ จำพวกอะไรบ้าง คือ
ภิกษุทั้งหลาย บุคคลบางคนในกรณีนี้ พิจารณาเห็นว่าเป็นทุกข์ มีความสำคัญว่าเป็นทุกข์ ตระหนักชัดว่าเป็นทุกข์ ในสัททสัญเจตนา … ในคันธสัญเจตนา … ในรสสัญเจตนา … ในโผฏฐัพพสัญเจตนา … ในธัมมสัญเจตนา น้อมไปด้วยใจ หยั่งลงด้วยปัญญา ติดต่อกันไปไม่ขาดสาย เธอย่อมกระทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะไม่ได้ เพราะอาสวะทั้งหลายสิ้นไป ด้วยปัญญาอันยิ่งเองในปัจจุบัน เข้าถึงอยู่ นี้เป็นบุคคลจำพวกที่ ๑ เป็นผู้ควรแก่ของบูชา เป็นผู้ควรแก่ของต้อนรับ เป็นผู้ควรรับทักษิณา เป็นผู้ควรกระทำอัญชลี เป็นนาบุญของโลก ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า.
ภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง บุคคลบางคนในกรณีนี้ พิจารณาเห็นว่าเป็นทุกข์ มีความสำคัญว่าเป็นทุกข์ ตระหนักชัดว่าเป็นทุกข์ ในธัมมสัญเจตนา น้อมไปด้วยใจ หยั่งลงด้วยปัญญา ติดต่อกันไปไม่ขาดสาย ความสิ้นอาสวะและความสิ้นชีวิตของเขา มีไม่ก่อนไม่หลังกัน นี้เป็นบุคคลจำพวกที่ ๒ เป็นผู้ควรแก่ของบูชา เป็นผู้ควรแก่ของต้อนรับ เป็นผู้ควรรับทักษิณา เป็นผู้ควรกระทำอัญชลี เป็นนาบุญของโลก ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า.
ภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง บุคคลบางคนในกรณีนี้ พิจารณาเห็นว่าเป็นทุกข์ มีความสำคัญว่าเป็นทุกข์ ตระหนักชัดว่าเป็นทุกข์ ในธัมมสัญเจตนา น้อมไปด้วยใจ หยั่งลงด้วยปัญญา ติดต่อกันไปไม่ขาดสาย เพราะโอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕ สิ้นไป บุคคลนั้นเป็นอันตราปรินิพพายี นี้เป็นบุคคลจำพวกที่ ๓ เป็นผู้ควรแก่ของบูชา เป็นผู้ควรแก่ของต้อนรับ เป็นผู้ควรรับทักษิณา เป็นผู้ควรกระทำอัญชลี เป็นนาบุญของโลก ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า.
ภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง บุคคลบางคนในกรณีนี้ พิจารณาเห็นว่าเป็นทุกข์ มีความสำคัญว่าเป็นทุกข์ ตระหนักชัดว่าเป็นทุกข์ ในธัมมสัญเจตนา น้อมไปด้วยใจ หยั่งลงด้วยปัญญา ติดต่อกันไปไม่ขาดสาย เพราะโอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕ สิ้นไป บุคคลนั้นเป็นอุปหัจจปรินิพพายี นี้เป็นบุคคลจำพวกที่ ๔ เป็นผู้ควรแก่ของบูชา เป็นผู้ควรแก่ของต้อนรับ เป็นผู้ควรรับทักษิณา เป็นผู้ควรกระทำอัญชลี เป็นนาบุญของโลก ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า.
ภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง บุคคลบางคนในกรณีนี้ พิจารณาเห็นว่าเป็นทุกข์ มีความสำคัญว่าเป็นทุกข์ ตระหนักชัดว่าเป็นทุกข์ ในธัมมสัญเจตนา น้อมไปด้วยใจ หยั่งลงด้วยปัญญา ติดต่อกันไปไม่ขาดสาย เพราะโอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕ สิ้นไป บุคคลนั้นเป็นอสังขารปรินิพพายี นี้เป็นบุคคลจำพวกที่ ๕ เป็นผู้ควรแก่ของบูชา เป็นผู้ควรแก่ของต้อนรับ เป็นผู้ควรรับทักษิณา เป็นผู้ควรกระทำอัญชลี เป็นนาบุญของโลก ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า.
ภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง บุคคลบางคนในกรณีนี้ พิจารณาเห็นว่าเป็นทุกข์ มีความสำคัญว่าเป็นทุกข์ ตระหนักชัดว่าเป็นทุกข์ ในธัมมสัญเจตนา น้อมไปด้วยใจ หยั่งลงด้วยปัญญา ติดต่อกันไปไม่ขาดสาย เพราะโอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕ สิ้นไป บุคคลนั้นเป็นสสังขารปรินิพพายี นี้เป็นบุคคลจำพวกที่ ๖ เป็นผู้ควรแก่ของบูชา เป็นผู้ควรแก่ของต้อนรับ เป็นผู้ควรรับทักษิณา เป็นผู้ควรกระทำอัญชลี เป็นนาบุญของโลก ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า.
ภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง บุคคลบางคนในกรณีนี้ พิจารณาเห็นว่าเป็นทุกข์ มีความสำคัญว่าเป็นทุกข์ ตระหนักชัดว่าเป็นทุกข์ ในธัมมสัญเจตนา น้อมไปด้วยใจ หยั่งลงด้วยปัญญา ติดต่อกันไปไม่ขาดสาย เพราะโอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕ สิ้นไป บุคคลนั้นเป็นอุทธังโสโตอกนิฏฐคามี นี้เป็นบุคคลจำพวกที่ ๗ เป็นผู้ควรแก่ของบูชา เป็นผู้ควรแก่ของต้อนรับ เป็นผู้ควรรับทักษิณา เป็นผู้ควรกระทำอัญชลี เป็นนาบุญของโลก ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า.
ภิกษุทั้งหลาย บุคคล ๗ จำพวกเหล่านี้แล เป็นผู้ควรแก่ของบูชา เป็นผู้ควรแก่ของต้อนรับ เป็นผู้ควรรับทักษิณา เป็นผู้ควรกระทำอัญชลี เป็นนาบุญของโลก ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า.
-บาลี สตฺตก. อํ. 23/149/86.
https://84000.org/tipitaka/pali/?23//149
https://etipitaka.com/read/pali/23/149/