Principles of considering actions.
English translation by Bhikkhu Sujato
… What do you think, Rāhula? What is the purpose of a mirror?”
“It’s for checking your reflection, sir.”
“In the same way, deeds of body, speech, and mind should be done only after repeated checking.
When you want to act with the body, you should check on that same deed: ‘Does this act with the body that I want to do lead to hurting myself, hurting others, or hurting both? Is it unskillful, with suffering as its outcome and result?’ If, while checking in this way, you know: ‘This act with the body that I want to do leads to hurting myself, hurting others, or hurting both. It’s unskillful, with suffering as its outcome and result.’ To the best of your ability, Rāhula, you should not do such a deed. But if, while checking in this way, you know: ‘This act with the body that I want to do doesn’t lead to hurting myself, hurting others, or hurting both. It’s skillful, with happiness as its outcome and result.’ Then, Rāhula, you should do such a deed.
While you are acting with the body, you should check on that same act: ‘Does this act with the body that I am doing lead to hurting myself, hurting others, or hurting both? Is it unskillful, with suffering as its outcome and result?’ If, while checking in this way, you know: ‘This act with the body that I am doing leads to hurting myself, hurting others, or hurting both. It’s unskillful, with suffering as its outcome and result.’ Then, Rāhula, you should desist from such a deed. But if, while checking in this way, you know: ‘This act with the body that I am doing doesn’t lead to hurting myself, hurting others, or hurting both. It’s skillful, with happiness as its outcome and result.’ Then, Rāhula, you should continue doing such a deed.
After you have acted with the body, you should check on that same act: ‘Does this act with the body that I have done lead to hurting myself, hurting others, or hurting both? Is it unskillful, with suffering as its outcome and result?’ If, while checking in this way, you know: ‘This act with the body that I have done leads to hurting myself, hurting others, or hurting both. It’s unskillful, with suffering as its outcome and result.’ Then, Rāhula, you should confess, reveal, and clarify such a deed to the Teacher or a sensible spiritual companion. And having revealed it you should restrain yourself in future. But if, while checking in this way, you know: ‘This act with the body that I have done doesn’t lead to hurting myself, hurting others, or hurting both. It’s skillful, with happiness as its outcome and result.’ Then, Rāhula, you should live in rapture and joy because of this, training day and night in skillful qualities.
When you want to act with speech, you should check on that same deed: ‘Does this act of speech that I want to do lead to hurting myself, hurting others, or hurting both? …’ …
If, while checking in this way, you know: ‘This act of speech that I have done leads to hurting myself, hurting others, or hurting both. It’s unskillful, with suffering as its outcome and result.’ Then, Rāhula, you should confess, reveal, and clarify such a deed to the Teacher or a sensible spiritual companion. And having revealed it you should restrain yourself in future. But if, while checking in this way, you know: ‘This act of speech that I have done doesn’t lead to hurting myself, hurting others, or hurting both. It’s skillful, with happiness as its outcome and result.’ Then, Rāhula, you should live in rapture and joy because of this, training day and night in skillful qualities.
When you want to act with the mind, you should check on that same deed: ‘Does this act of mind that I want to do lead to hurting myself, hurting others, or hurting both? …’ …
If, while checking in this way, you know: ‘This act of mind that I have done leads to hurting myself, hurting others, or hurting both. It’s unskillful, with suffering as its outcome and result.’ Then, Rāhula, you should be horrified, repelled, and disgusted by that deed. And being repelled, you should restrain yourself in future. But if, while checking in this way, you know: ‘This act with the mind that I have done doesn’t lead to hurting myself, hurting others, or hurting both. It’s skillful, with happiness as its outcome and result.’ Then, Rāhula, you should live in rapture and joy because of this, training day and night in skillful qualities.
All the ascetics and brahmins of the past, future, and present who purify their physical, verbal, and mental actions do so after repeatedly checking. So Rāhula, you should train yourself like this: ‘I will purify my physical, verbal, and mental actions after repeatedly checking.’”
That is what the Buddha said. Satisfied, Venerable Rāhula was happy with what the Buddha said.
English translation by I.B. Horner
Reflection before Action
“What do you think about this, Rāhula? What is the purpose of a mirror?” “Its purpose is reflection, revered sir.” “Even so, Rāhula, a deed is to be done with the body (only) after repeated reflection; a deed is to be done with speech (only) after repeated reflection a deed is to be done with the mind (only) after repeated reflection.
Intending Bodily Deeds
If you, Rāhula, are desirous of doing a deed with the body, you should reflect on that deed of your body, thus: ‘That deed which I am desirous of doing with the body is a deed of my body that might conduce to the harm of self and that might conduce to the harm of others and that might conduce to the harm of both; this deed of body is unskilled, its yield is anguish, its result is anguish.’ If you, Rāhula, reflecting thus, should find: ‘That deed which I am desirous of doing with the body is a deed of my body that might conduce to the harm of self and that might conduce to the harm of others and that might conduce to the harm of both; this deed of body is unskilled, its yield is anguish, its result is anguish.’, a deed of body like this, Rāhula, is certainly not to be done by you. But if you, Rāhula, while reflecting thus, should find: ‘That deed which I am desirous of doing with the body is a deed of my body that would conduce neither to the harm of self nor to the harm of others nor to the harm of both; this deed of body is skilled, its yield is happy, its result is happy’, a deed of body like this, Rāhula, may be done by you.
Doing Bodily Deeds
While you, Rāhula, are doing this deed with the body, you should reflect thus on this self-same deed of body: ‘Is this deed that I am doing with the body a deed of my body that is conducing to the harm of self and to the harm of others and to the harm of both? Is this deed of body unskilled, its yield anguish, its result anguish?’ If you, Rāhula, while reflecting thus should find: ‘This deed that I am doing with the body is a deed of my body that is conducing to the harm of self and to the harm of others and to the harm of both; this deed of body is unskilled, its yield is anguish, its result is anguish’, you, Rāhula, should avoid a deed of body like this. But if you, Rāhula, while reflecting thus, should find: ‘This deed that I am doing with the body is a deed of my body that is not conducing to the harm of self nor to the harm of others nor to the harm of both; this deed of body is skilled, its yield is happy, its result is happy’, you, Rāhula, could repeat a deed of body like this.
Having Done Bodily Deeds
And when you, Rāhula, have done a deed with the body you should reflect on this self-same deed of body thus: ‘Was this deed that I did with the body a deed of my body that conduced to the harm of self and to the harm of others and to the harm of both? Was this an unskilled deed of body, its yield anguish, its result anguish? If you, Rāhula, while reflecting thus, should find: ‘This deed that I did with the body was a deed of my body that conduced to the harm of self and to the harm of others and to the harm of both; this deed of body was unskilled, its yield anguish, its result anguish’, such a deed of your body, Rāhula, should be confessed, disclosed, declared to the Teacher or to intelligent Brahma-farers so that, confessed, disclosed and declared, it would induce restraint in the future. But if you, Rāhula, while reflecting thus, should find: ‘This deed that I did with the body was a deed of my body that conduced neither to the harm of self nor to the harm of others nor to the harm of both; it was a skilled deed of body, its yield happy, its result happy’, because of it you, Rāhula, may abide in zest and rapture training yourself day and night in states that are skilled.
Intending Verbal Deeds
If you, Rāhula, are desirous of doing a deed with the speech, you should reflect on that deed of your speech, thus: ‘That deed which I am desirous of doing with the speech is a deed of my speech that might conduce to the harm of self and that might conduce to the harm of others and that might conduce to the harm of both; this deed of speech is unskilled, its yield is anguish, its result is anguish.’ If you, Rāhula, reflecting thus, should find: ‘That deed which I am desirous of doing with the speech is a deed of my speech that might conduce to the harm of self and that might conduce to the harm of others and that might conduce to the harm of both; this deed of speech is unskilled, its yield is anguish, its result is anguish.’, a deed of speech like this, Rāhula, is certainly not to be done by you. But if you, Rāhula, while reflecting thus, should find: ‘That deed which I am desirous of doing with the speech is a deed of my speech that would conduce neither to the harm of self nor to the harm of others nor to the harm of both; this deed of speech is skilled, its yield is happy, its result is happy’, a deed of speech like this, Rāhula, may be done by you.
Doing Verbal Deeds
While you, Rāhula, are doing this deed with the speech, you should reflect thus on this self-same deed of speech: ‘Is this deed that I am doing with the speech a deed of my speech that is conducing to the harm of self and to the harm of others and to the harm of both? Is this deed of speech unskilled, its yield anguish, its result anguish?’ If you, Rāhula, while reflecting thus should find: ‘This deed that I am doing with the speech is a deed of my speech that is conducing to the harm of self and to the harm of others and to the harm of both; this deed of speech is unskilled, its yield is anguish, its result is anguish’, you, Rāhula, should avoid a deed of speech like this. But if you, Rāhula, while reflecting thus, should find: ‘This deed that I am doing with the speech is a deed of my speech that is not conducing to the harm of self nor to the harm of others nor to the harm of both; this deed of speech is skilled, its yield is happy, its result is happy’, you, Rāhula, could repeat a deed of speech like this.
Having Done Verbal Deeds
And when you, Rāhula, have done a deed with the speech you should reflect on this self-same deed of speech thus: ‘Was this deed that I did with the speech a deed of my speech that conduced to the harm of self and to the harm of others and to the harm of both? Was this an unskilled deed of speech, its yield anguish, its result anguish? If you, Rāhula, while reflecting thus, should find: ‘This deed that I did with the speech was a deed of my speech that conduced to the harm of self and to the harm of others and to the harm of both; this deed of speech was unskilled, its yield anguish, its result anguish’, such a deed of your speech, Rāhula, should be confessed, disclosed, declared to the Teacher or to intelligent Brahma-farers so that, confessed, disclosed and declared, it would induce restraint in the future. But if you, Rāhula, while reflecting thus, should find: ‘This deed that I did with the speech was a deed of my speech that conduced neither to the harm of self nor to the harm of others nor to the harm of both; it was a skilled deed of speech, its yield happy, its result happy’, because of it you, Rāhula, may abide in zest and rapture training yourself day and night in states that are skilled.
Intending Mental Deeds
If you, Rāhula, are desirous of doing a deed with the mind, you should reflect on that deed of your mind, thus: ‘That deed which I am desirous of doing with the mind is a deed of my mind that might conduce to the harm of self and that might conduce to the harm of others and that might conduce to the harm of both; this deed of mind is unskilled, its yield is anguish, its result is anguish.’ If you, Rāhula, reflecting thus, should find: ‘That deed which I am desirous of doing with the mind is a deed of my mind that might conduce to the harm of self and that might conduce to the harm of others and that might conduce to the harm of both; this deed of mind is unskilled, its yield is anguish, its result is anguish.’, a deed of mind like this, Rāhula, is certainly not to be done by you. But if you, Rāhula, while reflecting thus, should find: ‘That deed which I am desirous of doing with the mind is a deed of my mind that would conduce neither to the harm of self nor to the harm of others nor to the harm of both; this deed of mind is skilled, its yield is happy, its result is happy’, a deed of mind like this, Rāhula, may be done by you.
Doing Mental Deeds
While you, Rāhula, are doing this deed with the mind, you should reflect thus on this self-same deed of mind: ‘Is this deed that I am doing with the mind a deed of my mind that is conducing to the harm of self and to the harm of others and to the harm of both? Is this deed of mind unskilled, its yield anguish, its result anguish?’ If you, Rāhula, while reflecting thus should find: ‘This deed that I am doing with the mind is a deed of my mind that is conducing to the harm of self and to the harm of others and to the harm of both; this deed of mind is unskilled, its yield is anguish, its result is anguish’, you, Rāhula, should avoid a deed of mind like this. But if you, Rāhula, while reflecting thus, should find: ‘This deed that I am doing with the mind is a deed of my mind that is not conducing to the harm of self nor to the harm of others nor to the harm of both; this deed of mind is skilled, its yield is happy, its result is happy’, you, Rāhula, could repeat a deed of mind like this.
Having Done Mental Deeds
And when you, Rāhula, have done a deed with the mind you should reflect on this self-same deed of mind thus: ‘Was this deed that I did with the mind a deed of my mind that conduced to the harm of self and to the harm of others and to the harm of both? Was this an unskilled deed of mind, its yield anguish, its result anguish? If you, Rāhula, while reflecting thus, should find: ‘This deed that I did with the mind was a deed of my mind that conduced to the harm of self and to the harm of others and to the harm of both; this deed of mind was unskilled, its yield anguish, its result anguish’, then, Rāhula, you should be horrified, repelled, and disgusted by that deed. Being horrified, repelled, and disgusted you should restrain yourself in the future. But if you, Rāhula, while reflecting thus, should find: ‘This deed that I did with the mind was a deed of my mind that conduced neither to the harm of self nor to the harm of others nor to the harm of both; it was a skilled deed of mind, its yield happy, its result happy’, because of it you, Rāhula, may abide in zest and rapture training yourself day and night in states that are skilled.
Purification only by Reflection
All those recluses and brahmans, Rāhula, who in the long past purified a deed of body, purified a deed of speech, purified a deed of mind, did so (only) after repeated reflection. And all those recluses and brahmans, Rāhula, who in the distant future will purify a deed of body, will purify a deed of speech, will purify a deed of mind, will do so (only) after repeated reflection. And all those recluses and brahmans, Rāhula, who in the present are purifying a deed of body, are purifying a deed of speech, are purifying a deed of mind, are doing so (only) after repeated reflection.
Wherefore, Rāhula, thinking: ‘We will purify a deed of body after repeated reflection, we will purify a deed of speech after repeated reflection, we will purify a deed of mind after repeated reflection’, this is how you must train yourself, Rāhula.”
… พระผู้มีพระภาคตรัสถามว่า ราหุล เธอเข้าใจความข้อนี้ว่าอย่างไร กระจกมีประโยชน์อะไร.
มีประโยชน์สำหรับเอาไว้ส่องดู ภันเต.
ราหุล ฉันใดก็ฉันนั้นเหมือนกัน บุคคลควรพิจารณาให้ดีเสียก่อนแล้วจึงทำกรรมทางกาย พิจารณาให้ดีเสียก่อนแล้วจึงทำกรรมทางวาจา พิจารณาให้ดีเสียก่อนแล้วจึงทำกรรมทางใจ.
ราหุล เธอปรารถนาจะทำกรรมใดด้วยกาย เธอพึงพิจารณากายกรรมนั้นเสียก่อนว่า กายกรรมที่เราปรารถนาจะทำนี้ เป็นไปเพื่อเบียดเบียนตนเอง หรือเป็นไปเพื่อเบียดเบียนผู้อื่น หรือเป็นไปเพื่อเบียดเบียนทั้งสองฝ่าย กายกรรมนี้เป็นอกุศล มีทุกข์เป็นกำไร มีทุกข์เป็นผลหรือไม่หนอ ราหุล ถ้าเมื่อเธอพิจารณาอยู่รู้อย่างนี้ว่า กายกรรมที่เราปรารถนาจะทำนี้ เป็นไปเพื่อเบียดเบียนตนเอง หรือเป็นไปเพื่อเบียดเบียนผู้อื่น หรือเป็นไปเพื่อเบียดเบียนทั้งสองฝ่าย กายกรรมนี้เป็นอกุศล มีทุกข์เป็นกำไร มีทุกข์เป็นผล ดังนี้ ราหุล เธอไม่ควรทำกายกรรมเห็นปานนั้นโดยเด็ดขาด ราหุล แต่ถ้าเมื่อเธอพิจารณาอยู่รู้อย่างนี้ว่า กายกรรมที่เราปรารถนาจะทำนี้ ไม่เป็นไปเพื่อเบียดเบียนตนเอง หรือไม่เป็นไปเพื่อเบียดเบียนผู้อื่น หรือไม่เป็นไปเพื่อเบียดเบียนทั้งสองฝ่าย กายกรรมนี้เป็นกุศล มีสุขเป็นกำไร มีสุขเป็นผล ดังนี้ ราหุล เธอควรทำกายกรรมเห็นปานนั้น.
ราหุล เมื่อเธอกำลังทำกรรมใดด้วยกาย เธอพึงพิจารณากายกรรมนั้นแหละว่า กายกรรมที่เรากำลังทำนี้ เป็นไปเพื่อเบียดเบียนตนเอง หรือเป็นไปเพื่อเบียดเบียนผู้อื่น หรือเป็นไปเพื่อเบียดเบียนทั้งสองฝ่าย กายกรรมนี้เป็นอกุศล มีทุกข์เป็นกำไร มีทุกข์เป็นผลหรือไม่หนอ ราหุล ถ้าเมื่อเธอพิจารณาอยู่รู้อย่างนี้ว่า กายกรรมที่เรากำลังทำนี้ เป็นไปเพื่อเบียดเบียนตนเอง หรือเป็นไปเพื่อเบียดเบียนผู้อื่น หรือเป็นไปเพื่อเบียดเบียนทั้งสองฝ่าย กายกรรมนี้เป็นอกุศล มีทุกข์เป็นกำไร มีทุกข์เป็นผล ดังนี้ ราหุล เธอพึงหยุดทำกายกรรมเห็นปานนั้นเสีย ราหุล แต่ถ้าเมื่อเธอพิจารณาอยู่รู้อย่างนี้ว่า กายกรรมที่เรากำลังทำนี้ ไม่เป็นไปเพื่อเบียดเบียนตนเอง หรือไม่เป็นไปเพื่อเบียดเบียนผู้อื่น หรือไม่เป็นไปเพื่อเบียดเบียนทั้งสองฝ่าย กายกรรมนี้เป็นกุศล มีสุขเป็นกำไร มีสุขเป็นผล ดังนี้ ราหุล เธอพึงเพิ่มพูน (การทำ) กายกรรมเห็นปานนั้น.
ราหุล เมื่อเธอทำกรรมใดด้วยกายแล้ว เธอพึงพิจารณากายกรรมนั้นแหละว่า กายกรรมที่เราได้ทำแล้วนี้ เป็นไปเพื่อเบียดเบียนตนเอง หรือเป็นไปเพื่อเบียดเบียนผู้อื่น หรือเป็นไปเพื่อเบียดเบียนทั้งสองฝ่าย กายกรรมนี้เป็นอกุศล มีทุกข์เป็นกำไร มีทุกข์เป็นผลหรือไม่หนอ ราหุล ถ้าเมื่อเธอพิจารณาอยู่รู้อย่างนี้ว่า กายกรรมที่เราได้ทำแล้วนี้ เป็นไปเพื่อเบียดเบียนตนเอง หรือเป็นไปเพื่อเบียดเบียนผู้อื่น หรือเป็นไปเพื่อเบียดเบียนทั้งสองฝ่าย กายกรรมนี้เป็นอกุศล มีทุกข์เป็นกำไร มีทุกข์เป็นผล ดังนี้ ราหุล เธอพึงแสดง เปิดเผย ทำให้ตื้น ซึ่งกายกรรมนั้น ในพระศาสดา หรือในเพื่อนร่วมประพฤติพรหมจรรย์ที่เป็นผู้รู้ทั้งหลาย แล้วถึงสำรวมระวังต่อไป ราหุล ถ้าเมื่อเธอพิจารณาอยู่รู้อย่างนี้ว่า กายกรรมที่เราได้ทำแล้วนี้ ไม่เป็นไปเพื่อเบียดเบียนตนเอง หรือไม่เป็นไปเพื่อเบียดเบียนผู้อื่น หรือไม่เป็นไปเพื่อเบียดเบียนทั้งสองฝ่าย กายกรรมนี้เป็นกุศล มีสุขเป็นกำไร มีสุขเป็นผล ดังนี้ ราหุล เธอพึงอยู่ด้วยปีติและปราโมทย์ ตามศึกษาในกุศลธรรมทั้งหลายอยู่ ตลอดทั้งกลางวันและกลางคืนเถิด.
ราหุล เธอปรารถนาจะทำกรรมใดด้วยวาจา เธอพึงพิจารณาวจีกรรมนั้นเสียก่อนว่า วจีกรรมที่เราปรารถนาจะทำนี้ เป็นไปเพื่อเบียดเบียนตนเอง หรือเป็นไปเพื่อเบียดเบียนผู้อื่น หรือเป็นไปเพื่อเบียดเบียนทั้งสองฝ่าย วจีกรรมนี้เป็นอกุศล มีทุกข์เป็นกำไร มีทุกข์เป็นผลหรือไม่หนอ ราหุล ถ้าเมื่อเธอพิจารณาอยู่รู้อย่างนี้ว่า วจีกรรมที่เราปรารถนาจะทำนี้ เป็นไปเพื่อเบียดเบียนตนเอง หรือเป็นไปเพื่อเบียดเบียนผู้อื่น หรือเป็นไปเพื่อเบียดเบียนทั้งสองฝ่าย วจีกรรมนี้เป็นอกุศล มีทุกข์เป็นกำไร มีทุกข์เป็นผล ดังนี้ ราหุล เธอไม่ควรทำวจีกรรมเห็นปานนั้นโดยเด็ดขาด ราหุล แต่ถ้าเมื่อเธอพิจารณาอยู่รู้อย่างนี้ว่า วจีกรรมที่เราปรารถนาจะทำนี้ ไม่เป็นไปเพื่อเบียดเบียนตนเอง หรือไม่เป็นไปเพื่อเบียดเบียนผู้อื่น หรือไม่เป็นไปเพื่อเบียดเบียนทั้งสองฝ่าย วจีกรรมนี้เป็นกุศล มีสุขเป็นกำไร มีสุขเป็นผล ดังนี้ ราหุล เธอควรทำวจีกรรมเห็นปานนั้น.
ราหุล เมื่อเธอกำลังทำกรรมใดด้วยวาจา เธอพึงพิจารณาวจีกรรมนั้นแหละว่า วจีกรรมที่เรากำลังทำนี้ เป็นไปเพื่อเบียดเบียนตนเอง หรือเป็นไปเพื่อเบียดเบียนผู้อื่น หรือเป็นไปเพื่อเบียดเบียนทั้งสองฝ่าย วจีกรรมนี้เป็นอกุศล มีทุกข์เป็นกำไร มีทุกข์เป็นผลหรือไม่หนอ ราหุล ถ้าเมื่อเธอพิจารณาอยู่รู้อย่างนี้ว่า วจีกรรมที่เรากำลังทำนี้ เป็นไปเพื่อเบียดเบียนตนเอง หรือเป็นไปเพื่อเบียดเบียนผู้อื่น หรือเป็นไปเพื่อเบียดเบียนทั้งสองฝ่าย วจีกรรมนี้เป็นอกุศล มีทุกข์เป็นกำไร มีทุกข์เป็นผล ดังนี้ ราหุล เธอพึงหยุดทำวจีกรรมเห็นปานนั้นเสีย ราหุล แต่ถ้าเมื่อเธอพิจารณาอยู่รู้อย่างนี้ว่า วจีกรรมที่เรากำลังทำนี้ ไม่เป็นไปเพื่อเบียดเบียนตนเอง หรือไม่เป็นไปเพื่อเบียดเบียนผู้อื่น หรือไม่เป็นไปเพื่อเบียดเบียนทั้งสองฝ่าย วจีกรรมนี้เป็นกุศล มีสุขเป็นกำไร มีสุขเป็นผล ดังนี้ ราหุล เธอพึงเพิ่มพูน (การทำ) วจีกรรมเห็นปานนั้น.
ราหุล เมื่อเธอทำกรรมใดด้วยวาจาแล้ว เธอพึงพิจารณาวจีกรรมนั้นแหละว่า วจีกรรมที่เราได้ทำแล้วนี้ เป็นไปเพื่อเบียดเบียนตนเอง หรือเป็นไปเพื่อเบียดเบียนผู้อื่น หรือเป็นไปเพื่อเบียดเบียนทั้งสองฝ่าย วจีกรรมนี้เป็นอกุศล มีทุกข์เป็นกำไร มีทุกข์เป็นผลหรือไม่หนอ ราหุล ถ้าเมื่อเธอพิจารณาอยู่รู้อย่างนี้ว่า วจีกรรมที่เราได้ทำแล้วนี้ เป็นไปเพื่อเบียดเบียนตนเอง หรือเป็นไปเพื่อเบียดเบียนผู้อื่น หรือเป็นไปเพื่อเบียดเบียนทั้งสองฝ่าย วจีกรรมนี้เป็นอกุศล มีทุกข์เป็นกำไร มีทุกข์เป็นผล ดังนี้ ราหุล เธอพึงแสดง เปิดเผย ทำให้ตื้น ซึ่งวจีกรรมนั้น ในพระศาสดา หรือในเพื่อนร่วมประพฤติพรหมจรรย์ที่เป็นผู้รู้ทั้งหลาย แล้วถึงสำรวมระวังต่อไป ราหุล ถ้าเมื่อเธอพิจารณาอยู่รู้อย่างนี้ว่า วจีกรรมที่เราได้ทำแล้วนี้ ไม่เป็นไปเพื่อเบียดเบียนตนเอง หรือไม่เป็นไปเพื่อเบียดเบียนผู้อื่น หรือไม่เป็นไปเพื่อเบียดเบียนทั้งสองฝ่าย วจีกรรมนี้เป็นกุศล มีสุขเป็นกำไร มีสุขเป็นผล ดังนี้ ราหุล เธอพึงอยู่ด้วยปีติและปราโมทย์ ตามศึกษาในกุศลธรรมทั้งหลายอยู่ ตลอดทั้งกลางวันและกลางคืนเถิด.
ราหุล เธอปรารถนาจะทำกรรมใดด้วยใจ เธอพึงพิจารณามโนกรรมนั้นเสียก่อนว่า มโนกรรมที่เราปรารถนาจะทำนี้ เป็นไปเพื่อเบียดเบียนตนเอง หรือเป็นไปเพื่อเบียดเบียนผู้อื่น หรือเป็นไปเพื่อเบียดเบียนทั้งสองฝ่าย มโนกรรมนี้เป็นอกุศล มีทุกข์เป็นกำไร มีทุกข์เป็นผลหรือไม่หนอ ราหุล ถ้าเมื่อเธอพิจารณาอยู่รู้อย่างนี้ว่า มโนกรรมที่เราปรารถนาจะทำนี้ เป็นไปเพื่อเบียดเบียนตนเอง หรือเป็นไปเพื่อเบียดเบียนผู้อื่น หรือเป็นไปเพื่อเบียดเบียนทั้งสองฝ่าย มโนกรรมนี้เป็นอกุศล มีทุกข์เป็นกำไร มีทุกข์เป็นผล ดังนี้ ราหุล เธอไม่ควรทำมโนกรรมเห็นปานนั้นโดยเด็ดขาด ราหุล แต่ถ้าเมื่อเธอพิจารณาอยู่รู้อย่างนี้ว่า มโนกรรมที่เราปรารถนาจะทำนี้ ไม่เป็นไปเพื่อเบียดเบียนตนเอง หรือไม่เป็นไปเพื่อเบียดเบียนผู้อื่น หรือไม่เป็นไปเพื่อเบียดเบียนทั้งสองฝ่าย มโนกรรมนี้เป็นกุศล มีสุขเป็นกำไร มีสุขเป็นผล ดังนี้ ราหุล เธอควรทำมโนกรรมเห็นปานนั้น.
ราหุล เมื่อเธอกำลังทำกรรมใดด้วยใจ เธอพึงพิจารณามโนกรรมนั้นแหละว่า มโนกรรมที่เรากำลังทำนี้ เป็นไปเพื่อเบียดเบียนตนเอง หรือเป็นไปเพื่อเบียดเบียนผู้อื่น หรือเป็นไปเพื่อเบียดเบียนทั้งสองฝ่าย มโนกรรมนี้เป็นอกุศล มีทุกข์เป็นกำไร มีทุกข์เป็นผลหรือไม่หนอ ราหุล ถ้าเมื่อเธอพิจารณาอยู่รู้อย่างนี้ว่า มโนกรรมที่เรากำลังทำนี้ เป็นไปเพื่อเบียดเบียนตนเอง หรือเป็นไปเพื่อเบียดเบียนผู้อื่น หรือเป็นไปเพื่อเบียดเบียนทั้งสองฝ่าย มโนกรรมนี้เป็นอกุศล มีทุกข์เป็นกำไร มีทุกข์เป็นผล ดังนี้ ราหุล เธอพึงหยุดทำมโนกรรมเห็นปานนั้นเสีย ราหุล แต่ถ้าเมื่อเธอพิจารณาอยู่รู้อย่างนี้ว่า มโนกรรมที่เรากำลังทำนี้ ไม่เป็นไปเพื่อเบียดเบียนตนเอง หรือไม่เป็นไปเพื่อเบียดเบียนผู้อื่น หรือไม่เป็นไปเพื่อเบียดเบียนทั้งสองฝ่าย มโนกรรมนี้เป็นกุศล มีสุขเป็นกำไร มีสุขเป็นผล ดังนี้ ราหุล เธอพึงเพิ่มพูน (การทำ) มโนกรรมเห็นปานนั้น.
ราหุล เมื่อเธอทำกรรมใดด้วยใจแล้ว เธอพึงพิจารณามโนกรรมนั้นแหละว่า มโนกรรมที่เราได้ทำแล้วนี้ เป็นไปเพื่อเบียดเบียนตนเอง หรือเป็นไปเพื่อเบียดเบียนผู้อื่น หรือเป็นไปเพื่อเบียดเบียนทั้งสองฝ่าย มโนกรรมนี้เป็นอกุศล มีทุกข์เป็นกำไร มีทุกข์เป็นผลหรือไม่หนอ ราหุล ถ้าเมื่อเธอพิจารณาอยู่รู้อย่างนี้ว่า มโนกรรมที่เราได้ทำแล้วนี้ เป็นไปเพื่อเบียดเบียนตนเอง หรือเป็นไปเพื่อเบียดเบียนผู้อื่น หรือเป็นไปเพื่อเบียดเบียนทั้งสองฝ่าย มโนกรรมนี้เป็นอกุศล มีทุกข์เป็นกำไร มีทุกข์เป็นผล ดังนี้ ราหุล เธอพึงแสดง เปิดเผย ทำให้ตื้น ซึ่งมโนกรรมนั้น ในพระศาสดา หรือในเพื่อนร่วมประพฤติพรหมจรรย์ที่เป็นผู้รู้ทั้งหลาย แล้วถึงสำรวมระวังต่อไป ราหุล ถ้าเมื่อเธอพิจารณาอยู่รู้อย่างนี้ว่า มโนกรรมที่เราได้ทำแล้วนี้ ไม่เป็นไปเพื่อเบียดเบียนตนเอง หรือไม่เป็นไปเพื่อเบียดเบียนผู้อื่น หรือไม่เป็นไปเพื่อเบียดเบียนทั้งสองฝ่าย มโนกรรมนี้เป็นกุศล มีสุขเป็นกำไร มีสุขเป็นผล ดังนี้ ราหุล เธอพึงอยู่ด้วยปีติและปราโมทย์ ตามศึกษาในกุศลธรรมทั้งหลายอยู่ ตลอดทั้งกลางวันและกลางคืนเถิด.
ราหุล สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใดเหล่าหนึ่งในกาลอันเป็นอดีต ที่ได้ชำระกายกรรมวจีกรรม และมโนกรรมแล้ว สมณะหรือพราหมณ์เหล่านั้นทั้งหมด ก็ได้พิจารณาแล้วพิจารณาอีกอย่างนี้นั่นเอง แล้วจึงชำระกายกรรม ได้พิจารณาแล้วพิจารณาอีกอย่างนี้นั่นเอง แล้วจึงชำระวจีกรรม ได้พิจารณาแล้วพิจารณาอีกอย่างนี้นั่นเอง แล้วจึงชำระมโนกรรม ราหุล แม้สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใดเหล่าหนึ่งในกาลอันเป็นอนาคต ที่จักชำระกายกรรม วจีกรรม และมโนกรรม สมณะหรือพราหมณ์เหล่านั้นทั้งหมด ก็จักพิจารณาแล้วพิจารณาอีกอย่างนี้นั่นเอง แล้วจึงชำระกายกรรม จักพิจารณาแล้วพิจารณาอีกอย่างนี้นั่นเอง แล้วจึงชำระวจีกรรม จักพิจารณาแล้วพิจารณาอีกอย่างนี้นั่นเอง แล้วจึงชำระมโนกรรม ราหุล ถึงสมณะหรือพราหมณ์เหล่าใดเหล่าหนึ่งในกาลอันเป็นปัจจุบัน ที่กำลังชำระกายกรรม วจีกรรม และมโนกรรมอยู่ในบัดนี้ สมณะหรือพราหมณ์เหล่านั้นทั้งหมด ก็พิจารณาแล้วพิจารณาอีกอย่างนี้นั่นเอง แล้วจึงชำระกายกรรม พิจารณาแล้วพิจารณาอีกอย่างนี้นั่นเอง แล้วจึงชำระวจีกรรม พิจารณาแล้วพิจารณาอีกอย่างนี้นั่นเอง แล้วจึงชำระมโนกรรม.
ราหุล เพราะเหตุนั้นแล เธอพึงศึกษาอย่างนี้ว่า เราจักพิจารณาแล้วพิจารณาอีก แล้วจึงชำระกายกรรม จักพิจารณาแล้วพิจารณาอีก แล้วจึงชำระวจีกรรม จักพิจารณาแล้วพิจารณาอีก แล้วจึงชำระมโนกรรม ราหุล เธอพึงศึกษาอย่างนี้แล.
-บาลี ม. ม. 13/125/128.
https://84000.org/tipitaka/pali/?13//125
https://etipitaka.com/read/pali/13/128/