Seeing six internal sights is impermanent. Rebirth will be ended. (2)
English translation by Bhikkhu Sujato
“Mendicants, the eye is impermanent. The cause and condition that gives rise to the eye is also impermanent. Since the eye is produced by what is impermanent, how could it be permanent?
The ear … nose … tongue … body … mind is impermanent. The cause and condition that gives rise to the mind is also impermanent. Since the mind is produced by what is impermanent, how could it be permanent?
Seeing this, a learned noble disciple grows disillusioned with the eye, ear, nose, tongue, body, and mind. Being disillusioned, desire fades away. When desire fades away they’re freed. When they’re freed, they know they’re freed.
They understand: ‘Rebirth is ended, the spiritual journey has been completed, what had to be done has been done, there is no return to any state of existence.’”
English translation by Bhikkhu Bodhi
“Bhikkhus, the eye is impermanent. The cause and condition for the arising of the eye is also impermanent. As the eye has originated from what is impermanent, how could it be permanent?
“The ear is impermanent…. The mind is impermanent. The cause and condition for the arising of the mind is also impermanent. As the mind has originated from what is impermanent, how could it be permanent?
“Seeing thus, bhikkhus, the instructed noble disciple experiences revulsion towards the eye … towards the mind. Experiencing revulsion, he becomes dispassionate. Through dispassion his mind is liberated. When it is liberated there comes the knowledge: ‘It’s liberated.’ He understands: ‘Destroyed is birth, the holy life has been lived, what had to be done has been done, there is no more for this state of being.’”
ภิกษุทั้งหลาย ตาไม่เที่ยง แม้เหตุปัจจัยที่ให้ตาเกิดขึ้น ก็ไม่เที่ยง ตาที่เกิดจากสิ่งที่ไม่เที่ยง จะเป็นของเที่ยงได้อย่างไร.
หูไม่เที่ยง แม้เหตุปัจจัยที่ให้หูเกิดขึ้น ก็ไม่เที่ยง หูที่เกิดจากสิ่งที่ไม่เที่ยง จะเป็นของเที่ยงได้อย่างไร.
จมูกไม่เที่ยง แม้เหตุปัจจัยที่ให้จมูกเกิดขึ้น ก็ไม่เที่ยง จมูกที่เกิดจากสิ่งที่ไม่เที่ยง จะเป็นของเที่ยงได้อย่างไร.
ลิ้นไม่เที่ยง แม้เหตุปัจจัยที่ให้ลิ้นเกิดขึ้น ก็ไม่เที่ยง ลิ้นที่เกิดจากสิ่งที่ไม่เที่ยง จะเป็นของเที่ยงได้อย่างไร.
กายไม่เที่ยง แม้เหตุปัจจัยที่ให้กายเกิดขึ้น ก็ไม่เที่ยง กายที่เกิดจากสิ่งไม่เที่ยง จะเป็นของเที่ยงได้อย่างไร.
ใจไม่เที่ยง แม้เหตุปัจจัยที่ให้ใจเกิดขึ้น ก็ไม่เที่ยง ใจที่เกิดจากสิ่งไม่เที่ยง จะเป็นของเที่ยงได้อย่างไร.
ภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้ได้สดับแล้ว เห็นอยู่อย่างนี้ ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในตา ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในหู ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในจมูก ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในลิ้น ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในกาย ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในใจ เมื่อเบื่อหน่าย ย่อมคลายกำหนัด เพราะคลายกำหนัด ย่อมหลุดพ้น เมื่อหลุดพ้นแล้ว ย่อมมีญาณหยั่งรู้ว่าหลุดพ้นแล้ว ย่อมรู้ชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นที่จะต้องทำเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มีอีก ดังนี้.
-บาลี สฬา. สํ. 18/163/221.
https://84000.org/tipitaka/pali/?18//163
https://etipitaka.com/read/pali/18/163