There is much more that the Buddha has directly known but has not explained to us. Because it doesn’t lead to extinguishment.
English translation by Bhikkhu Sujato
At one time the Buddha was staying near Kosambī in a rosewood forest. Then the Buddha picked up a few rosewood leaves in his hand and addressed the mendicants: “What do you think, mendicants? Which is more: the few leaves in my hand, or those in the forest above me?”
“Sir, the few leaves in your hand are a tiny amount. There are far more leaves in the forest above.”
“In the same way, there is much more that I have directly known but have not explained to you. What I have explained is a tiny amount. And why haven’t I explained it? Because it’s not beneficial or relevant to the fundamentals of the spiritual life. It doesn’t lead to disillusionment, dispassion, cessation, peace, insight, awakening, and extinguishment. That’s why I haven’t explained it.
And what have I explained? I have explained: ‘This is suffering’ … ‘This is the origin of suffering’ … ‘This is the cessation of suffering’ … ‘This is the practice that leads to the cessation of suffering’.
And why have I explained this? Because it’s beneficial and relevant to the fundamentals of the spiritual life. It leads to disillusionment, dispassion, cessation, peace, insight, awakening, and extinguishment. That’s why I’ve explained it.
That’s why you should practice meditation …”
English translation by Bhikkhu Bodhi
On one occasion the Blessed One was dwelling at Kosambi in a siṁsapa grove. Then the Blessed One took up a few siṁsapa leaves in his hand and addressed the bhikkhus thus: “What do you think, bhikkhus, which is more numerous: these few siṁsapa leaves that I have taken up in my hand or those in the siṁsapa grove overhead?”
“Venerable sir, the siṁsapa leaves that the Blessed One has taken up in his hand are few, but those in the siṁsapa grove overhead are numerous.”
“So too, bhikkhus, the things I have directly known but have not taught you are numerous, while the things I have taught you are few. And why, bhikkhus, have I not taught those many things? Because they are unbeneficial, irrelevant to the fundamentals of the holy life, and do not lead to revulsion, to dispassion, to cessation, to peace, to direct knowledge, to enlightenment, to Nibbāna. Therefore I have not taught them.
“And what, bhikkhus, have I taught? I have taught: ‘This is suffering’; I have taught: ‘This is the origin of suffering’; I have taught: ‘This is the cessation of suffering’; I have taught: ‘This is the way leading to the cessation of suffering.’ And why, bhikkhus, have I taught this? Because this is beneficial, relevant to the fundamentals of the holy life, and leads to revulsion, to dispassion, to cessation, to peace, to direct knowledge, to enlightenment, to Nibbāna. Therefore I have taught this.
“Therefore, bhikkhus, an exertion should be made to understand: ‘This is suffering.’… An exertion should be made to understand: ‘This is the way leading to the cessation of suffering.’”
สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ที่ป่าสีสปา เขตเมืองโกสัมพี ครั้งนั้นพระผู้มีพระภาคทรงกำใบสีสปา ที่ร่วงอยู่ตามพื้นดินขึ้นมาหน่อยหนึ่งแล้วตรัสถามแก่ภิกษุทั้งหลายว่า
ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายเข้าใจความข้อนี้ว่าอย่างไร ใบสีสปาที่เรากำขึ้นมาหน่อยหนึ่งนี้ กับใบสีสปาที่ยังอยู่บนต้นสีสปาเหล่านั้น ส่วนไหนจะมากกว่ากัน.
ภันเต ใบสีสปาที่พระผู้มีพระภาคทรงกำขึ้นหน่อยหนึ่งนั้นเป็นของน้อย ส่วนใบสีสปาที่ยังอยู่บนต้นสีสปาเหล่านั้นย่อมมีมาก.
ภิกษุทั้งหลาย ฉันใดก็ฉันนั้น สิ่งที่เรารู้ด้วยปัญญาอันยิ่งแล้วไม่กล่าวสอนนั้น มีมากกว่าส่วนที่นำมากล่าวสอน ภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุใดเราจึงไม่กล่าวสอนสิ่งเหล่านั้น ภิกษุทั้งหลาย เพราะว่าสิ่งเหล่านั้น ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ ไม่เป็นเงื่อนต้นแห่งพรหมจรรย์ ไม่เป็นไปเพื่อความเบื่อหน่าย ไม่เป็นไปเพื่อความคลายกำหนัด ไม่เป็นไปเพื่อความดับ ไม่เป็นไปเพื่อความสงบ ไม่เป็นไปเพื่อความรู้ยิ่ง ไม่เป็นไปเพื่อความรู้พร้อม ไม่เป็นไปเพื่อนิพพาน ดังนั้น เราจึงไม่กล่าวสอน.
ภิกษุทั้งหลาย สิ่งใดเล่า เป็นสิ่งที่เรากล่าวสอน ภิกษุทั้งหลาย สิ่งที่เรากล่าวสอน คือ ทุกข์เป็นอย่างนี้ เหตุให้เกิดทุกข์เป็นอย่างนี้ ความดับของทุกข์เป็นอย่างนี้ ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับของทุกข์เป็นอย่างนี้ ภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุใดเราจึงกล่าวสอนสิ่งเหล่านี้ ภิกษุทั้งหลาย เพราะว่าสิ่งเหล่านี้ ประกอบด้วยประโยชน์ เป็นเงื่อนต้นแห่งพรหมจรรย์ เป็นไปเพื่อความเบื่อหน่าย เป็นไปเพื่อความคลายกำหนัด เป็นไปเพื่อความดับ เป็นไปเพื่อความสงบ เป็นไปเพื่อความรู้ยิ่ง เป็นไปเพื่อความรู้พร้อม เป็นไปเพื่อนิพพาน ดังนั้น เราจึงนำมากล่าวสอน.
ภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นในเรื่องนี้ พวกเธอพึงทำความเพียรเพื่อให้รู้ตามความเป็นจริงว่า ทุกข์เป็นอย่างนี้ เหตุให้เกิดทุกข์เป็นอย่างนี้ ความดับของทุกข์เป็นอย่างนี้ และข้อปฏิบัติให้ถึงความดับของทุกข์เป็นอย่างนี้ ดังนี้เถิด.
-บาลี มหาวาร. สํ. 19/548/1712.
https://84000.org/tipitaka/pali/?19//548
https://etipitaka.com/read/pali/19/548