Dhamma speaker and a mendicant who speaks on Dhamma. (3)
English translation by Bhikkhu Sujato
Then a mendicant went up to the Buddha … and asked him, “Sir, they speak of a ‘Dhamma speaker’. How is a Dhamma speaker defined?”
“If a mendicant teaches Dhamma for disillusionment, dispassion, and cessation regarding the eye, they’re qualified to be called a ‘mendicant who speaks on Dhamma’.
If they practice for disillusionment, dispassion, and cessation regarding the eye, they’re qualified to be called a ‘mendicant who practices in line with the teaching’.
If they’re freed by not grasping by disillusionment, dispassion, and cessation regarding the eye, they’re qualified to be called a ‘mendicant who has attained extinguishment in this very life’.
If a mendicant teaches Dhamma for disillusionment with the ear … nose … tongue … body … mind, for its fading away and cessation, they’re qualified to be called a ‘mendicant who speaks on Dhamma’.
If they practice for disillusionment, dispassion, and cessation regarding the mind, they’re qualified to be called a ‘mendicant who practices in line with the teaching’.
If they’re freed by not grasping by disillusionment, dispassion, and cessation regarding the mind, they’re qualified to be called a ‘mendicant who has attained extinguishment in this very life’.”
English translation by Bhikkhu Bodhi
Then a certain bhikkhu approached the Blessed One … and said to him: “Venerable sir, it is said, ‘a speaker on the Dhamma, a speaker on the Dhamma.’ In what way, venerable sir, is one a speaker on the Dhamma?”
“Bhikkhu, if one teaches the Dhamma for the purpose of revulsion towards the eye, for its fading away and cessation, one can be called a bhikkhu who is a speaker on the Dhamma. If one is practising for the purpose of revulsion towards the eye, for its fading away and cessation, one can be called a bhikkhu who is practising in accordance with the Dhamma. If, through revulsion towards the eye, through its fading away and cessation, one is liberated by nonclinging, one can be called a bhikkhu who has attained Nibbāna in this very life.
“Bhikkhu, if one teaches the Dhamma for the purpose of revulsion towards the ear … for the purpose of revulsion towards the mind, for its fading away and cessation, one can be called a bhikkhu who is a speaker on the Dhamma. If one is practising for the purpose of revulsion towards the mind, for its fading away and cessation, one can be called a bhikkhu who is practising in accordance with the Dhamma. If, through revulsion towards the mind, through its fading away and cessation, one is liberated by nonclinging, one can be called a bhikkhu who has attained Nibbāna in this very life.”
ครั้งนั้น ภิกษุรูปหนึ่งเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ … ครั้นแล้วได้ทูลถามพระผู้มีพระภาคว่า ภันเต ที่กล่าวกันว่า ภิกษุธรรมกถึก ภิกษุธรรมกถึก ดังนี้ ด้วยเหตุเพียงเท่าไรหนอ ภิกษุจึงเป็นธรรมกถึก.
ภิกษุ ถ้าภิกษุแสดงธรรมเพื่อความเบื่อหน่าย เพื่อความคลายกำหนัด เพื่อความดับไม่เหลือแห่งตา ควรจะกล่าวว่า ภิกษุธรรมกถึก ภิกษุ ถ้าภิกษุเป็นผู้ปฏิบัติ เพื่อความเบื่อหน่าย เพื่อความคลายกำหนัด เพื่อความดับไม่เหลือแห่งตา ควรจะกล่าวว่า ภิกษุปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ภิกษุ ถ้าภิกษุเป็นผู้หลุดพ้นแล้ว เพราะความเบื่อหน่าย เพราะความคลายกำหนัด เพราะความดับไม่เหลือ เพราะไม่ยึดมั่นตา ควรจะกล่าวว่า ภิกษุบรรลุนิพพานในปัจจุบัน.
ภิกษุ ถ้าภิกษุแสดงธรรมเพื่อความเบื่อหน่าย เพื่อความคลายกำหนัด เพื่อความดับไม่เหลือแห่งหู ควรจะกล่าวว่า ภิกษุธรรมกถึก ภิกษุ ถ้าภิกษุเป็นผู้ปฏิบัติ เพื่อความเบื่อหน่าย เพื่อความคลายกำหนัด เพื่อความดับไม่เหลือแห่งหู ควรจะกล่าวว่า ภิกษุปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ภิกษุ ถ้าภิกษุเป็นผู้หลุดพ้นแล้ว เพราะความเบื่อหน่าย เพราะความคลายกำหนัด เพราะความดับไม่เหลือ เพราะไม่ยึดมั่นหู ควรจะกล่าวว่า ภิกษุบรรลุนิพพานในปัจจุบัน.
ภิกษุ ถ้าภิกษุแสดงธรรมเพื่อความเบื่อหน่าย เพื่อความคลายกำหนัด เพื่อความดับไม่เหลือแห่งจมูก ควรจะกล่าวว่า ภิกษุธรรมกถึก ภิกษุ ถ้าภิกษุเป็นผู้ปฏิบัติ เพื่อความเบื่อหน่าย เพื่อความคลายกำหนัด เพื่อความดับไม่เหลือแห่งจมูก ควรจะกล่าวว่า ภิกษุปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ภิกษุ ถ้าภิกษุเป็นผู้หลุดพ้นแล้ว เพราะความเบื่อหน่าย เพราะความคลายกำหนัด เพราะความดับไม่เหลือ เพราะไม่ยึดมั่นจมูก ควรจะกล่าวว่า ภิกษุบรรลุนิพพานในปัจจุบัน.
ภิกษุ ถ้าภิกษุแสดงธรรมเพื่อความเบื่อหน่าย เพื่อความคลายกำหนัด เพื่อความดับไม่เหลือแห่งลิ้น ควรจะกล่าวว่า ภิกษุธรรมกถึก ภิกษุ ถ้าภิกษุเป็นผู้ปฏิบัติ เพื่อความเบื่อหน่าย เพื่อความคลายกำหนัด เพื่อความดับไม่เหลือแห่งลิ้น ควรจะกล่าวว่า ภิกษุปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ภิกษุ ถ้าภิกษุเป็นผู้หลุดพ้นแล้ว เพราะความเบื่อหน่าย เพราะความคลายกำหนัด เพราะความดับไม่เหลือ เพราะไม่ยึดมั่นลิ้น ควรจะกล่าวว่า ภิกษุบรรลุนิพพานในปัจจุบัน.
ภิกษุ ถ้าภิกษุแสดงธรรมเพื่อความเบื่อหน่าย เพื่อความคลายกำหนัด เพื่อความดับไม่เหลือแห่งกาย ควรจะกล่าวว่า ภิกษุธรรมกถึก ภิกษุ ถ้าภิกษุเป็นผู้ปฏิบัติ เพื่อความเบื่อหน่าย เพื่อความคลายกำหนัด เพื่อความดับไม่เหลือแห่งกาย ควรจะกล่าวว่า ภิกษุปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ภิกษุ ถ้าภิกษุเป็นผู้หลุดพ้นแล้ว เพราะความเบื่อหน่าย เพราะความคลายกำหนัด เพราะความดับไม่เหลือ เพราะไม่ยึดมั่นกาย ควรจะกล่าวว่า ภิกษุบรรลุนิพพานในปัจจุบัน.
ภิกษุ ถ้าภิกษุแสดงธรรมเพื่อความเบื่อหน่าย เพื่อความคลายกำหนัด เพื่อความดับไม่เหลือแห่งใจ ควรจะกล่าวว่า ภิกษุธรรมกถึก ภิกษุ ถ้าภิกษุเป็นผู้ปฏิบัติ เพื่อความเบื่อหน่าย เพื่อความคลายกำหนัด เพื่อความดับไม่เหลือแห่งใจ ควรจะกล่าวว่า ภิกษุปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ภิกษุ ถ้าภิกษุเป็นผู้หลุดพ้นแล้ว เพราะความเบื่อหน่าย เพราะความคลายกำหนัด เพราะความดับไม่เหลือ เพราะไม่ยึดมั่นใจ ควรจะกล่าวว่า ภิกษุบรรลุนิพพานในปัจจุบัน.
-บาลี สฬา. สํ. 18/176/244.
https://84000.org/tipitaka/pali/?18//179
https://etipitaka.com/read/pali/18/179