Because of not understanding four noble truths, one must wander and transmigrate. 2
English translation by Bhikkhu Sujato
At one time the Buddha was staying in the land of the Vajjis at the village of Koṭi. There the Buddha addressed the mendicants: “Mendicants, not understanding and not penetrating four noble truths, both you and I have wandered and transmigrated for such a very long time.
What four? The noble truths of suffering, the origin of suffering, the cessation of suffering, and the practice that leads to the cessation of suffering. These noble truths of suffering, origin, cessation, and the path have been understood and comprehended. Craving for continued existence has been cut off; the attachment to continued existence is ended; now there’ll be no more future lives.”
That is what the Buddha said. Then the Holy One, the Teacher, went on to say:
“Because of not truly seeing
the four noble truths,
we have transmigrated for a long time
from one rebirth to the next.
But now that these truths have been seen,
the attachment to rebirth is eradicated.
The root of suffering is cut off,
now there’ll be no more future lives.”
English translation by Bhikkhu Bodhi
On one occasion the Blessed One was dwelling among the Vajjians at Koṭigama.
There the Blessed One addressed the bhikkhus thus: “Bhikkhus, it is because of not understanding and not penetrating the Four Noble Truths that you and I have roamed and wandered through this long course of saṁsara.
What four?
“It is, bhikkhus, because of not understanding and not penetrating the noble truth of suffering that you and I have roamed and wandered through this long course of saṁsara.
It is because of not understanding and not penetrating the noble truth of the origin of suffering … the noble truth of the cessation of suffering … the noble truth of the way leading to the cessation of suffering that you and I have roamed and wandered through this long course of saṁsara.
“That noble truth of suffering, bhikkhus, has been understood and penetrated. That noble truth of the origin of suffering has been understood and penetrated. That noble truth of the cessation of suffering has been understood and penetrated. That noble truth of the way leading to the cessation of suffering has been understood and penetrated. Craving for existence has been cut off; the conduit to existence has been destroyed; now there is no more renewed existence.”
This is what the Blessed One said. Having said this, the Fortunate One, the Teacher, further said this:
“Because of not seeing as they are
The Four Noble Truths,
We have wandered through the long course
In the various kinds of births.
“Now these truths have been seen;
The conduit to existence is severed;
Cut off is the root of suffering:
Now there is no more renewed existence.”
English translation by Bhikkhu Sujato
“Mendicants, suppose a stick was tossed up in the air. Sometimes it’d fall on its bottom, sometimes the middle, and sometimes the top.
It’s the same for sentient beings roaming and transmigrating, hindered by ignorance and fettered by craving.
Sometimes they go from this world to the other world, and sometimes they come from the other world to this world.
Why is that? It’s because they haven’t seen the four noble truths. What four? The noble truths of suffering, its origin, its cessation, and the path.
That’s why you should practice meditation …”
English translation by Bhikkhu Bodhi
“Bhikkhus, just as a stick thrown up into the air falls now on its bottom, now on its top, so too as beings roam and wander on, hindered by ignorance and fettered by craving, now they go from this world to the other world, now they come from the other world to this world.
For what reason? Because they have not seen the Four Noble Truths. What four? The noble truth of suffering … the noble truth of the way leading to the cessation of suffering.
“Therefore, bhikkhus, an exertion should be made to understand: ‘This is suffering.’… An exertion should be made to understand: ‘This is the way leading to the cessation of suffering.’”
สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ โกฏิคาม แคว้นวัชชี ณ ที่นั้น พระผู้มีพระภาครับสั่งเรียกภิกษุทั้งหลายมาตรัสว่า
ภิกษุทั้งหลาย เพราะไม่รู้ถึง ไม่แทงตลอดซึ่งอริยสัจ ๔ ประการ เราและพวกเธอทั้งหลาย จึงได้ท่องเที่ยวไปแล้วในสังสารวัฏ ตลอดกาลยืดยาวนานถึงเพียงนี้ อริยสัจ ๔ ประการอะไรบ้าง คือ
ภิกษุทั้งหลาย เพราะไม่รู้ถึง ไม่แทงตลอดซึ่งอริยสัจคือทุกข์ เราและพวกเธอทั้งหลาย จึงได้ท่องเที่ยวไปแล้วในสังสารวัฏ ตลอดกาลยืดยาวนานถึงเพียงนี้ เพราะไม่รู้ถึง ไม่แทงตลอดซึ่งอริยสัจคือเหตุให้เกิดทุกข์ เราและพวกเธอทั้งหลาย จึงได้ท่องเที่ยวไปแล้วในสังสารวัฏ ตลอดกาลยืดยาวนานถึงเพียงนี้ เพราะไม่รู้ถึง ไม่แทงตลอดซึ่งอริยสัจคือความดับของทุกข์ เราและพวกเธอทั้งหลาย จึงได้ท่องเที่ยวไปแล้วในสังสารวัฏ ตลอดกาลยืดยาวนานถึงเพียงนี้ เพราะไม่รู้ถึง ไม่แทงตลอดซึ่งอริยสัจคือข้อปฏิบัติให้ถึงความดับของทุกข์ เราและพวกเธอทั้งหลาย จึงได้ท่องเที่ยวไปแล้วในสังสารวัฏ ตลอดกาลยืดยาวนานถึงเพียงนี้.
ภิกษุทั้งหลาย เมื่ออริยสัจคือทุกข์ อริยสัจคือเหตุให้เกิดทุกข์ อริยสัจคือความดับของทุกข์ อริยสัจคือข้อปฏิบัติให้ถึงความดับของทุกข์ เป็นความจริงที่เราและพวกเธอทั้งหลาย รู้ถึงและแทงตลอดแล้ว ตัณหาในภพ ก็ถูกถอนขึ้นขาด ตัณหาที่จะนำไปสู่ภพ ก็สิ้นไปหมด บัดนี้ ความต้องเกิดขึ้นอีกมิได้มี ดังนี้.
เพราะไม่เห็นอริยสัจ ๔ ประการตามความเป็นจริง เราและพวกเธอทั้งหลาย
จึงได้ท่องเที่ยวไปแล้วในชาตินั้นๆ ตลอดกาลยาวนาน
(เมื่อ) อริยสัจ ๔ ประการเหล่านี้ เราและเธอทั้งหลายเห็นแล้ว
ตัณหาที่จะนำไปสู่ภพ (ภวเนตติ) จึงถูกถอนขึ้นได้แล้ว
มูลเหตุแห่งทุกข์จึงถูกตัดขาดแล้ว บัดนี้ภพใหม่ไม่มีอีกต่อไป
… … … … …
ภิกษุทั้งหลาย เปรียบเหมือนท่อนไม้ อันบุคคลโยนขึ้นไปสู่อากาศ บางคราวตกเอาโคนลง บางคราวตกเอาตอนกลางลง บางคราวตกเอาปลายลง.
ภิกษุทั้งหลาย ฉันใดก็ฉันนั้น สัตว์ทั้งหลายผู้มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องผูก ท่องเที่ยวไปมาอยู่ บางคราวแล่นจากโลกนี้สู่โลกอื่น บางคราวแล่นจากโลกอื่นสู่โลกนี้.
ข้อนั้นเพราะเหตุอะไร ภิกษุทั้งหลาย ข้อนั้นเพราะความที่สัตว์เหล่านั้นไม่เห็นอริยสัจ ๔ ประการ อริยสัจ ๔ ประการอะไรบ้าง คือ อริยสัจคือทุกข์ อริยสัจคือเหตุให้เกิดทุกข์ อริยสัจคือความดับของทุกข์ อริยสัจคือข้อปฏิบัติให้ถึงความดับของทุกข์.
ภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นในเรื่องนี้ พวกเธอพึงกระทำความเพียรเพื่อให้รู้ตามความเป็นจริงว่า ทุกข์เป็นอย่างนี้ เหตุเกิดขึ้นของทุกข์เป็นอย่างนี้ ความดับของทุกข์เป็นอย่างนี้ ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับของทุกข์เป็นอย่างนี้ ดังนี้.
-บาลี มหาวาร. สํ. 19/541, 550/1698, 1716.
https://84000.org/tipitaka/pali/?19//541
https://84000.org/tipitaka/pali/?19//550
https://etipitaka.com/read/pali/19/541/
https://etipitaka.com/read/pali/19/550/