เกี่ยวกับการใช้ชีวิตและธรรมะกับการทำงาน

วิธีแก้ความหดหู่และความฟุ้งซ่าน

ครั้งนั้น ในเวลาเช้า ภิกษุจำนวนมากนุ่งแล้ว ถือบาตรและจีวรเข้าไปบิณฑบาตในพระนครสาวัตถี ภิกษุเหล่านั้นได้มีความคิดว่า เวลานี้ยังเช้านัก ที่เราจะเข้าไปบิณฑบาตในนครสาวัตถี ทางที่ดี เราทั้งหลายควรเข้าไปยังอารามของพวกอัญญเดียรถีย์ปริพาชกเถิด...

ประโยชน์ของการระลึกถึง สิ่งที่ตนเองเลื่อมใส

เรื่องเกิดขึ้นในพระนครสาวัตถี ครั้งนั้น เวลาเช้า ท่านพระอานนท์นุ่งแล้ว ถือบาตรและจีวรเข้าไปยังสำนักของภิกษุณีแห่งหนึ่ง แล้วนั่งบนอาสนะที่ได้จัดไว้. ครั้งนั้น ภิกษุณีจำนวนมากเข้าไปหาท่านพระอานนท์ ไหว้ท่านพระอานนท์แล้วจึงนั่งในที่สมควร ครั้นแล้ว จึงพูดกะท่านพระอานนท์ว่า...

ผู้ควรบรรลุ หรือไม่ควรบรรลุกุศลธรรม

ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม ๖ ประการ ย่อมเป็นผู้ไม่ควรเพื่อบรรลุกุศลธรรมที่ยังไม่ได้บรรลุ หรือไม่ควรเพื่อทำกุศลธรรมที่ได้บรรลุแล้วให้เจริญขึ้น ธรรม ๖ ประการอะไรบ้าง คือ...

ธรรมที่มีอุปการะมากแก่มนุษย์

ภิกษุทั้งหลาย ธรรม ๔ ประการเหล่านี้ เป็นธรรมมีอุปการะมากแก่มนุษย์ ธรรม ๔ ประการอะไรบ้าง คือ  ๑) การคบสัปบุรุษ  ๒)...

ธรรม ๕ ประการ ทำให้อายุยืน (๑)

ภิกษุทั้งหลาย ธรรม ๕ ประการเหล่านี้ เป็นเหตุให้อายุสั้น ๕ ประการอะไรบ้าง คือ ๑) ไม่เป็นผู้ทำความสบายแก่ตนเอง ๒) ไม่รู้จักประมาณในสิ่งที่สบาย ๓)...

เหตุสำเร็จตามความปรารถนา (๒)

ครั้งนั้นแล อนาถบิณฑิกคหบดีเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ถวายอภิวาทพระผู้มีพระภาคแล้วนั่งในที่สมควร ครั้นแล้ว พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า คหบดี ธรรม ๔ ประการเหล่านี้ น่าปรารถนา น่ารักใคร่...

ธรรม ๕ ประการ ทำให้อายุยืน (๒)

ภิกษุทั้งหลาย ธรรม ๕ ประการเหล่านี้ เป็นเหตุให้อายุสั้น ๕ ประการอะไรบ้าง คือ ๑) ไม่เป็นผู้ทำความสบายแก่ตนเอง ๒) ไม่รู้จักประมาณในสิ่งที่สบาย ๓)...

ธรรมปริยายอันควรน้อมเข้ามาในตน

สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเสด็จเที่ยวจาริกไปในโกศลชนบท พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์เป็นอันมาก เสด็จถึงพราหมณคามของชาวโกศลชื่อเวฬุทวาระ. พราหมณ์และคหบดีชาวเวฬุทวาระได้ฟังข่าวว่า พระสมณโคดมผู้เป็นโอรสของเจ้าศากยะ เสด็จออกผนวชจากศากยสกุล เสด็จเที่ยวจาริกไปในโกศลชนบท พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์เป็นอันมาก มาถึงเวฬุทวารคามแล้ว...

เครื่องเศร้าหมองของจิต อย่างหยาบ อย่างกลาง อย่างละเอียด

ภิกษุทั้งหลาย เครื่องเศร้าหมองอย่างหยาบ (โอฬาริก อุปกฺกิเลส) ของทอง คือ ดินร่วน ทราย ก้อนกรวด...

หลักพิจารณาว่า การกระทำนั้น สมควรทำหรือไม่

สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ที่ฝั่งสระโบกขรณีชื่อคัคครา เขตเมืองจัมปา ครั้งนั้น วัชชิยมาหิตคหบดีได้ออกจากเมืองจัมปาตั้งแต่ยังวันเพื่อเฝ้าพระผู้มีพระภาค ลำดับนั้น วัชชิยมาหิตคหบดีได้มีความคิดว่า ยังไม่ใช่เวลาที่จะเฝ้าพระผู้มีพระภาค เพราะพระผู้มีพระภาคยังทรงหลีกเร้นอยู่ ยังไม่ใช่เวลาที่จะเยี่ยมเยียนภิกษุทั้งหลายผู้อบรมใจ...